อานิสงส์บุญใหญ่ของ “การบวชชีพราหมณ์” สร้างบารมีให้เเก่ชีวิต เจริญรุ่งเรื่อง

วันนี้เราจะมาว่ากันด้วยเรื่องของการบวชพราหมณ์ ชีพราหมณ์ หรืออุบาสก กับคำว่า เนกขัมมะ นั้นไม่ได้ต่างกัน ถือเป็นคำเรียก การบวชในช่วงขณะเวลานึงเพื่อสร้างบุญกุศล โดยไม่ต้องโกนผม โกนคิ้ว

การบวช เป็นศัพท์ที่ใช้ในทางศาสนาโดยมีขั้นตอนที่จะทำให้บุคคลธรรมดาผู้นับถือศาสนาต่าง ๆ กลายเป็นนักบวชของศาสนาที่ตนนับถือนั้น การบวชมักประกอบไปด้วยพิธีกssมและแบบพิธีต่าง ๆ ซึ่งขั้นตอนการบวชเองนั้นก็มีความแตกต่างกันไปตามศาสนาและชื่อเรียกขาน ผู้ที่กำลังเตรียมเข้าสู่การบวชเรียกว่า ผู้เตรียมบวช

ในพระพุทธศาสนา เรียกการบวชว่า การอุปสมบท (บาลี อุปสมฺปทา) แต่เดิมนั้น การบวชเรียกว่า บรรพชา (บาลี ปพฺพชฺชา แปลว่า เว้นทั่ว เว้นจากความชั่วทุกอย่าง) ปัจจุบันคำว่าบรรพชาใช้กับการบวชสามเณร ในขณะที่อุปสมบทใช้กับการบวชพระภิกษุ

การบวชโดยนัยแล้วคือ การละทิ้งวิถีชีวิต

วามเป็นอยู่เดิม สู่วิถีชีวิตความเป็นอยู่ใหม่ตามครรลองแห่งมรรค เพื่อเป็นการง่าย เพื่อเป็นการสะดวก เป็นทางอันปลอดโปร่ง แก่การบรรลุถึงซึ่งวัตถุประสงค์ คือ ความบริสุทธิ์หลุดพ้นปราศจากมิลทิน หมดจดจากความเศร้าห มอง และเป็นอิสระจากพันธนาการเครื่องร้อยรัดทั้งปวง

ในสมัยพุทธกาล การบวชมี 8 อย่าง ได้แก่

‘เอหิภิกขุอุปสัมปทา’ เป็นการบวชที่พระโคตมพุทธเจ้าประทานแก่พระสาวกบางองค์ด้วยพระองค์เอง ด้วยการตรัสว่า เอหิ ภิกขุ แปลว่า เธอจงมาเป็นภิกษุเถิด พระอัญญาโกณฑัญญะเป็นคนแรกและพระสุภัททะเป็นคนสุดท้ายที่พระพุทธเจ้าทรงบวชด้วยวิธีนี้

‘ติสรณคมนูปสัมปทา’ เป็นการบวชโดยให้ผู้ขอบวชเปล่งวาจาต่อหน้าพระสาวกว่าขอพระรัตนตรัยเป็นที่พึ่งสามครั้ง ปัจจุบันวิธีนี้ใช้ในการบรรพชาสามเณร

‘ญัตติจตุตถกัมมอุปสัมปทา’ เป็นการบวชโดยให้คณะสงฆ์ประชุมกันในอุโบสถ โดยมีพระภิกษุรูปหนึ่งแจ้งว่ามีผู้ขอบวช เมื่อประกาศครบสี่ครั้งไม่มีพระรูปใดคั ดค้ าน ถือว่าผู้ขอบวชได้รับการยอมรับให้เป็นพระภิกษุ

‘ครุธัมมปฏิคคหณูปสัมปทา’ เป็นการบวชโดยที่พระพุทธเจ้าประทานครุธรรม 8 ประการ แก่พระนางมหาปชาบดีและสตรีชาวสากยะ 500 คน เมื่อพวกนางยอมรับครุธรรมก็ได้รับสถานะเป็นภิกษุณี

‘อัฏฐวาจิกาอุปสัมปทา’ เป็นการบวชภิกษุณีโดยให้รับญัตติจตุตถกัมมอุปสัมปทาจากภิกษุณีสงฆ์ก่อนครั้งหนึ่ง และจึงรับญัตติจตุตถกัมมอุปสัมปทาจากภิกษุสงฆ์อีกครั้ง เมื่อผ่านการอุปสมบททั้งสองครั้งแล้วจึงเป็นภิกษุณี

‘โอวาทปฏิคคหณูปสัมปทา’ เป็นการบวชโดยพระพุทธเจ้าประทานพระโอวาทแก่พระมหากัสสปะ เมื่อท่านรับโอวาทแล้วก็เป็นพระภิกษุ

‘ปัญหาพຍากรณูปสัมปทา’ เป็นการบวชโดยพระพุทธเจ้าทรงตอบปัญหาของสามเณรโสปาก

‘ทูเตนอุปสัมปทา’ เป็นการบวชโดยพระพุทธเจ้าทรงส่งทูตของพระองค์ไปบวชหญิงโสเภณีชื่ออัฑฒกาสี

การบวชพระ บวชชีพราหมณ์ ถือเป็นการบวชชั่วคราวเพื่อสร้างบุญ หรืออุทิศให้พ่อแม่เจ้ากssมนายเวร ซึ่งนอกจากจะสร้างบุญกุศลที่ยิ่งใหญ่แล้วยังได้อานิสงส์มากมายอีกหลายอย่างดังต่อไปนี้

1. เจ้ากssมนายเวรจะอโหสิกssม หนี้กssมในอดีตจะคลี่คลาย

2. สุขภาพแข็งแรง สติปัญญาแจ่มใส ปัญหาชีวิตคลี่คลาย

3. เป็นปัจจัยสู่พระนิพพานในภพต่อ ๆ ไป

4. หน้าที่การงานจะเจริญรุ่งเรือง ได้ลาภยศ สรรเสริญตามปรารถนา

5. สิ่งศักดิ์สิทธิ์คุ้มครอง โพยภัยอันตรๅยผ่อนหนักเป็นเบา

6. จิตใจสงบ ปล่อยวางได้ง่าย มองเห็นสัจธรรมแห่งชีวิต

7. เป็นที่รักที่เมตตามหานิยมของมวลมนุษย์มวลสัตว์และเหล่าเทวดา

8. ทำมาค้าขึ้นไม่อับจu การเงินไม่ขาดสายไม่ขาดมือ

9. โsคภัยของตนเองของพ่อแม่ และของคนใกล้ชิดจะเบาบางและรักษาหาย

10. ตอบแทนพระคุณของพ่อแม่ได้เต็มที่ สำหรับผู้ที่บวชไ ม่ได้เพราะติดภาระกิจต่างๆ ก็สามารถได้รับอานิสงส์เหล่านี้ได้ด้วยการสร้าง

ส่วนคนที่ส่งเสริมให้บุคคลใดได้บวชสนับสนุนส่งเสริมโดยไ ม่มีจิตที่บังคับใด ๆ (ในที่นี่อาจจะเป็นพ่อแม่) การให้คนได้บวช ก็จะได้อานิสงส์ผลบุญเหล่านี้ตามไปด้วยเช่นกัน ทั้งหมดนี้เป็นเพีຍงตัวอย่างบุญที่ยกขึ้นมาเพื่อแสดงให้เห็นถึงอานิสงส์ที่ท่านพึงจะได้รับจงเร่งทำบุญเสียแต่วันนี้

เพราะเมื่อท่านล่วงลับท่านไม่สามารถสร้างบุญได้อีกจนกว่าจะได้เกิด หากท่านไม่มีบุญมาหนุนนำแรงกssมอาจดึงให้ท่านไปสู่ภพเดรัจฉาน ภพเปsต ภพสัตว์นsกที่ไม่อาจสร้างบุญสร้างกุศลได้

ต่อให้ญาติโยมทำบุญอุทิศให้ก็อาจไ ม่ได้รับบุญ ดังนั้น ท่านจงพึ่งตนเองด้วยการสร้างสมบุญบารมีซึ่งเป็นทรัพย์สินที่ท่านจะนำติดตัวไปได้ทุกภพทุกชาติ

แหล่งที่มา: dharma99

เรียบเรียงโดย item2day.com

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *

This site uses Akismet to reduce spam. Learn how your comment data is processed.